Cute Grapes 2

Diary 6


Diary no. 6 Tuesday, 12 Septamber 2560

                                                      บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6
     การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
   Science Experiences Management For Early Childhood
วันอังคารที่ 12  กันยายน  พ.ศ. 2560
เวลา 8.30 - 12.30 
_____________________________________________________________

แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ 
การเปลี่ยนแปลง  (Change)
ความแตกต่าง Veriety
การปรับตัว Adjustment
การพึ่งพาอาศัยกัน Muturity
ความสมดุลย์ Equilibrium

องค์ประกอบ
- ความรู้
- เจตคติ
- กระบวนการ

       ความรู้
ความรู้ทางวิทยาศสาตร์ต้องตั้งอยู่บน 3 เงื่อนไข
     - ต้องเป็นความรู้ของธรรมชาติ
     - จะต้องได้จากการใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
     - จะต้องเป็นความรู้ที่ได้ทำการทดสอบและยืนยันแล้วว่าเป็นความจริง
ความรู้ทางวิทยาศสาตร์สามารถจำแนกได้ 5 ประเภท 
1. ข้อเท็จจริงFact เช่น 
    1.1 น้ำสามารถละลายใจน้ำ
    1.2 น้ำไหลจากที่สูงไปหาที่ที่ต่ำ
2. คิดรวบยอด Concept เช่น
    2.1 แมวเป็นสัตว์ 4 ขา มีหนวดและเลี้ยงลูกด้วยนม
    2.2 แมลงคือสัตว์ที่มีขา 6 ขา และลำตัวแบ่งเป็น 3 ส่วน
3. หลักการ Principle เช่น
    3.1 ก๊าซเมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัว
    3.2 แม่เหล็กขั่วที่เหมือนกันจะผลักกันแต่ถ้าต่างกันจะดูดกัน
4. กฎ Law  เช่น
    4.1 น้ำเมื่อเย็นลงจนเป็นน้ำแข็ง ปริมาตรจะมากขึ้น
    4.2 วัตถุจะเคลื่อนที่จะต้องมีแรงมากระทำ
5 ทฤษฎี theory เช่น
คือข้อมูลที่เป็นจริงและเป็นที่ยอมรับ

วิธีหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 
- ขั้นสังเกต
- ขั้นตั้งปัญหา
- ขั้นตั้งสมมติฐาน
- ขั้นทดสอบสมมติฐาน
- ขั้นสรุป

เจตคติทางวิทยาศาสตร์
    ยึดมั่นในความคิดอิสระเสรีแห่งความคิดและเคารพความจริงและข้อเท็จจริง มีความอดทนรอคอยความรู้จากความสามารถของตน 

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีทั้งหมด 13 ทักษะ ประกอบไปด้วย ทักษะพื้นฐาน 8 ทักษะ และทักษะการบูรณาการ 5 ทักษะ 

ทักษะขั้นพื้นฐาน 
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการวัด
- ทักษะการคำนวน
-ทักษะการจำแนกประเภท
- ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ และสเปซกับเวลา
- ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล
- ทักษะการแสดงความคิดเห็นจากข้อมูล
- ทักษะการพยากรณ์

ทักษะการบูรณาการ
- ทักษะการตั้งสมมติฐาน
- ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฎิบัติ
- ทักษะกำหนดการควบคุมตัวแปร
- ทักษะการทดลอง
- ทักษะการตีความหมายของข้อมูลและสรุป

การนำความรู้ไปใช้ 
   เพื่อพัฒนาความคิดอย่างเป็นขั้นตอนและมีความอนทนกับการหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ และเรียนรู้จากการลงมือการทำ เช่นการทดลอง เพราะสื่งที่ลงมือกระทำเราจะทำได้นานกว่าการท่องจำ


ประเมิน 
ครูผู้สอน   อธิความหมายของข้อมูลต่างที่ผู้เรียนไม่เข้าใจ ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับเนื้อหาการเรียนอย่าง                       เต็มที่
ผู้ร่วมเรียน  ให้ความสนใจในการเรียนตลอดเวลา
ตัวผู้เรียน     ให้ความร่วมมือในการจัดการสอนของผู้สอน 
สภาพแวดล้อม  มีเสียงรบกวนจากการก่อสร้างอาคารมาเป็นช่วงๆ 


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น